หินตะกอน

        แม้ว่าหินจะเป็นของแข็ง แต่มันก็มิสามารถดำรงอยู่ได้อย่างถาวร หินเมื่อถูกแสงแดด ลมฟ้าอากาศ และน้ำ หรือ ถูกกระแทก ก็แตกเป็นก้อนเล็กๆ หรือผุกร่อน เสื่อมสภาพลง เศษหินที่ผุพังทั้งอนุภาคใหญ่และเล็กถูกพัดพาไปสะสมอัดตัวกัน เป็นชั้นๆ เกิดความกดดันและปฏิกิริยาเคมีจนกลับกลายเป็นหินอีกครั้ง หินที่เกิดใหม่นี้เราเรียกว่า หินตะกอน (Sedimentary rock) ปัจจัยที่ทำให้เกิดหินตะกอนมีดังนี้ 

ภาพที่ 1 ภูเขาหินแกรนิตซึ่งกำลังผุพังจากสภาพลมฟ้าอากาศ

ตารางที่ 1 ตัวอย่างกระบวนการผุพังทางเคมี (Chemical Weathering)

 

ภาพที่ 2 การกร่อนด้วยกระแสลม

ภาพที่ 3 การคัดขนาดตะกอนด้วยการพัดพาของน้ำ

                            ตารางที่ 2 ขนาดของอนุภาคตะกอน

ภาพที่ 4 ขั้นตอนที่ตะกอนกลับคืนเป็นหิน

ประเภทของหินตะกอน

นักธรณีวิทยาจำแนกหินตะกอนตามลักษณะการเกิดออกเป็น 3 ประเภท ดังนี้

1. หินตะกอนอนุภาค (Clastic rocks) ได้แก่ 

ภาพที่ 5 สัดส่วนของหินตะกอนบนเปลือกโลก

2. หินตะกอนเคมี (Chemical sedimentary rocks) ได้แก่ 

3. หินตะกอนอินทรีย์ (Organic sedimentary rocks) ได้แก่ 

ตารางที่ 3 ตัวอย่างหินตะกอน

รูป

หิน

หินกรวดมน

Conglomerate

หินทราย

Sandstone

หินดินดาน

Shale

หินปูน

Limestone

หินเชิร์ต

Chert

แร่หลัก

ขึ้นอยู่กับก้อนกรวด

ซึ่งประกอบกันเป็นหิน

ควอตซ์ 

SiO2

แร่ดินเหนียว

Al2SiO5(OH) 4

แคลไซต์ 

CaCO3

ซิลิกา 

SiO2

ลักษณะ

เนื้อหยาบ

เป็นกรวดมนหลายก้อน เชื่อมติดกัน

เนื้อหยาบสีน้ำตาลสีแดง

เนื้อละเอียดมาก สีเทา ผสมสีแดงเนื่องจากแร่เหล็ก

เนื้อละเอียดมีหลายสี ทำปฏิกิริยากับกรด

เนื้อละเอียด แข็ง สีอ่อน

ที่มา

เกิิดขึ้นจากเม็ดกรวดที่ถูกพัดพาโดยกระแสน้ำแล้วเกาะติดกันด้วยวัสดุประสาน

เกิดขึ้นจากแร่ควอตซ์ในหินอัคนี ผุพังกลายเป็นเม็ดทรายทับถมกัน

เกิดขึ้นจากเฟลด์สปาร์ในหินอัคนีผุพังเป็นแร่ดินเหนียวทับถมกัน

เกิดจากการทับถมของตะกอนคาร์บอนเนตในท้องทะเล

เกิดจากการทับถมของซากสิ่งมีชีวิตเล็กๆ ในท้องทะเล จนซิลิกาเกิดการตกผลึกใหม่