Stellarium เป็นซอฟต์แวร์ท้องฟ้าจำลองเสมือนจริง ที่ถูกพัฒนาขึ้นโดยมีจุดมุ่งหมายให้บุคคลทั่วไปสามารถใช้งานได้ฟรีโดยไม่มีค่าใช้จ่าย และยังเป็นซอฟต์แวร์ประเภท Open Source ที่เปิดให้ผู้สนใจสามารถเข้าร่วมทีมเพื่อพัฒนาต่อยอดได้อีกด้วย โดยอยู่ภายใต้ลิขสิทธิ์ของ GNU General Public License (GUN GPL) ท่านสามารถเข้าไปดาวน์โหลดได้ที่เว็บไซต์ stellarium.org ดังแสดงในภาพที่ 1
ภาพที่ 4 แถบเครื่องมือ Stellarium
แถบเครื่องมือของ Stellarium จะแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ แถบเครื่องมือในแนวตั้ง และแถบเครื่องมือในแนวนอน โดยรายละเอียดของเครื่องมือแต่ละตัวจะแสดงในตารางที่ 1 และตารางที่ 2
ตารางที่ 1 รายละเอียดของแถบเครื่องมือในแนวตั้ง
ภาพที่ 3 ท้องฟ้าที่เมือง Paris เมื่อเริ่มใช้งานครั้งแรก
ดังนั้นก่อนการใช้งาน Stellarium ครั้งแรก เราต้องมีการปรับตั้งค่า Configurations ต่างๆ ของซอฟต์แวร์ให้เหมาะสมกับการสังเกตการณ์ของเราเสียก่อน โดยในหัวข้อต่อไปจะอธิบายถึงแถบเครื่องมือต่างๆ ของ Stellarium
รู้จักกับแถบเครื่องมือของ Stellarium
เครื่องมือสำหรับปรับตั้งค่าต่างๆ ของ Stellarium จะถูกซ้อนไว้บริเวณมุมด้านขวาและด้านล่างของซอฟต์แวร์ เมื่อเราเลื่อนเมาส์ไปวางอยู่เหนือบริเวณดังกล่าว แถบเครื่องมือก็จะปรากฏออกมา ดังภาพที่ 4
ภาพที่ 2 เลือกดาวน์โหลด Stellarium ตามระบบปฏิบัติการที่ต้องการ
เมื่อได้ไฟล์สำหรับติดตั้งแล้ว ให้ดับเบิลคลิกที่ไฟล์ติดตั้งเพื่อเริ่มกระบวนการติดตั้งซอฟต์แวร์ ทำตามกระบวนการไปเรื่อยๆ จนการติดตั้งเสร็จสมบูรณ์ หลังจากการติดตั้งเสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว จะปรากฏไอคอน ที่หน้าเดสท็อป เมื่อเปิดซอฟต์แวร์ขึ้นมาในครั้งแรก ซอฟต์แวร์จะแสดงท้องฟ้าที่เมือง Paris ดังในภาพที่ 3
ภาพที่ 1 เว็บไซต์ stellarium.org
Stellarium ถูกพัฒนาให้สามารถรองรับระบบปฏิบัติการได้หลากหลาย ตั้งแต่ Linux, Mac OS, Windows และ Ubantu โดยมีความต้องการทรัพยากรของเครื่องคอมพิวเตอร์ดังนี้
• ระบบปฏิบัติการ : Linux/Unix; Windows XP/Vista/7/8; 64-bit; OS X 10.7.0 หรือสูงกว่า
• การ์ดจอ: รองรับ OpenGL 2.1 หรือสูงกว่า
• หน่วยความจำ RAM: 1 GB หรือมากกว่า
• พื้นที่บน Hard Disk: 1.5 GB หรือมากกว่า
การติดตั้งซอฟต์แวร์ Stellarium
เริ่มจากเข้าไปดาวน์โหลดซอฟต์แวร์เวอร์ชันล่าสุดจากเว็บไซต์ stellarium.org โดยคลิกเลือกจากรูประบบปฏิบัติการที่เราใช้งาน ดังภาพที่ 2
ตารางที่ 2 รายละเอียดของแถบเครื่องมือในแนวนอน
การปรับตั้งตำแหน่งของผู้สังเกต
การเริ่มต้นใช้งานจำเป็นต้องปรับตั้งตำแหน่งของผู้สังเกตใหม่ โดยเลือนเมาส์ไปยังแถบเครื่องมือแนวตั้ง เลือกคลิกที่เครื่องมือ
หรือ กด F6 เพื่อเปิดหน้าต่าง Location ขึ้นมา จากนั้นเลือกตำแหน่งของผู้สังเกตใหม่ตามต้องการ โดยเลือกได้ 3 วิธี ดังแสดงในภาพที่ 5
ภาพที่ 5 วิธีการเลือกระบุตำแหน่งของผู้สังเกต
หลังจากเปลี่ยนตำแหน่งผู้สังเกตแล้ว หากต้องการให้โปรแกรมจำตำแหน่งที่เลือกไว้เป็นค่าเริ่มต้นทุกครั้งที่เปิดใช้โปรแกรมใหม่ ให้คลิกเครื่องหมายถูกที่ Use as default ด้วยนะครับ เมื่อเลือกตำแหน่งของผู้สังเกตใหม่แล้ว Stellarium จะแสดงภาพท้องฟ้าและตำแหน่งของดาวที่สามารถมองเห็นได้จากตำแหน่งของผู้สังเกต ตามเวลาของเครื่องคอมพิวเตอร์ในขณะนั้น ดังภาพที่ 6
ภาพที่ 6 Stellarium จะแสดงภาพท้องฟ้าและตำแหน่งของดาวที่สามารถเห็นได้จากตำแหน่งของผู้สังเกต
การปรับเปลี่ยนเวลา
เราสามารถหยุดเวลาหรือปรับเปลี่ยนเวลาได้ โดยเลื่อนเมาส์มาที่แท็บเครื่องมือแนวนอน เลือก
หรือ กด J หากต้องการย้อนเวลา เราสามารถเร่งความเร็วได้โดยการคลิกซ้ำหลายๆ ครั้ง เมื่อต้องการกลับมาสู่ความเร็วปกติให้เลือก
หรือกด K และหากต้องการเร่งเวลาให้เร็วขึ้นก็ให้เลือก เร่งความเร็วได้โดยการคลิกซ้ำหลายๆ ครั้งเช่นกัน สุดท้าย หากต้องการกลับมายังวันเวลาปัจจุบันให้เลือกที่
อย่างไรก็ตาม การเร่งหรือย้อนเวลานั้นจะแสดงให้เราเห็นถึงการเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนที่ของดาวและเทหวัตถุต่างๆ บนท้องฟ้าได้ชัดเจนขึ้น แต่อาจไม่เหมาะสมกับการย้อนกลับไปดูปรากฏการดาราศาสตร์ที่เคยเกิดขึ้นในอดีต หรือที่กำลังจะเกิดขึ้นในอนาคต หากเราต้องการย้อนกลับไปดูเหตุการณ์ที่เคยเกิดขึ้นในอดีตหรือการคาดการณ์ในอนาคต เราสามารถเลือกวันเวลาที่เราต้องการจากเครื่องมือ
ภาพที่ 7 แถบ ปี เดือน วัน ชั่วโมง นาที วินาที
การแสดงเส้นอ้างอิงบนท้องฟ้า
เส้นอ้างอิงบนท้องฟ้า เช่น เส้นกริดบอกพิกัดท้องฟ้า ซึ่งมีด้วยกัน 2 ระบบ คือ พิกัด Altazimuth (Alt/Azi) และ พิกัด Equatorial (RA/DEC) ให้เลือก
ในแถบเครื่องมือแนวตั้ง หรือกด F5 หน้าต่าง Date and Time จะปรากฏขึ้นดังภาพที่ 7
ภาพที่ 8 กริดระบบพิกัด Altazimuth (Alt/Azi)
หรือ คลิก Z สำหรับเลือกแสดงพิกัด Altazimuth ซึ่งบอกพิกัดของวัตถุท้องฟ้าตามที่เรามองเห็น โดยบอกเป็นมุมในแนนราบ เริ่มวัดจากทิศเหนือหมุนไปทางทิศตะวันออก เรียกว่า “มุมอัลซิมุท” และมุมเงยจากขอบฟ้าขึ้นไป เรียกว่า “มุมอัลติจูด” ดังในภาพที่ 8
ภาพที่ 11 แสดงเส้นสุริยวิถี เส้นเมอริเดียน และเส้นศูนย์สูตรฟ้า
การแสดงเส้นลากและลักษณะของกลุ่มดาว
กลุ่มดาวสามารถแสดงได้ 3 แบบ คือ แสดงเป็นเส้นลากเชื่อมต่อกันระหว่างดาว โดยคลิก C หรือเลือก
ภาพที่ 10 เลือกหน้าต่าง View
จากนั้นเลือกแท็บ Markings ในส่วนของ Celestial Sphere สามารถเลือกให้แสดง เส้นสุริยวิถี (Ecliptic) เส้นเมอริเดียน (Meridian) หรือเส้นศูนย์สูตรฟ้า (Equator) ได้ตามต้องการ ตัวอย่างเส้นอ้างอิงทั้ง 3 แสดงในภาพที่ 11
สำหรับเส้นอ้างอิงอื่นๆ เช่น เส้นสุริยะวิถี (Ecliptic) เส้นเมอริเดียน (Meridian) และเส้นศูนย์สูตรฟ้า (Equator) สามารถเลือกให้แสดงได้จากเครื่องมือ ในแถบเครื่องมือแนวตั้ง หรือ กด F4 เพื่อเปิดหน้าต่าง View ดังแสดงในภาพที่ 10
ภาพที่ 9 กริดระบบพิกัด Equatorial (RA/DEC)
สำหรับระบบพิกัด Equatorial (RA/DEC) นั้น สามารถเลือกจาก หรือ คลิก E ซึ่งเป็นระบบพิกัดสากลที่ใช้ระบุตำแหน่งของวัตถุท้องฟ้า ดังแสดงในภาพที่ 9
ภาพที่ 12 เส้นเชื่อมกลุ่มดาว
ในแท็บเครื่องมือแนวนอน หรือจะเลือกแสดงเป็นรูปศิลป์เพื่อช่วยในการจิตนาการ โดยคลิก R หรือเลือก ในแท็บเครื่องมือแนวนอนเช่นกัน ดังแสดงในภาพที่ 12 และ 13
ภาพที่ 15 เส้นเชื่อมกลุ่มดาวและเส้นกำหนดขอบเขตของกลุ่มดาว
การแสดงชื่อกลุ่มดาว ชื่อดาวและวัตถุท้องฟ้าต่างๆ
สำหรับการแสดงชื่อของกลุ่มดาวนั้นสามารถเลือกจากเครื่องมือ
ภาพที่ 14 เลือก Show boundaries จาก หน้าต่าง View
หากต้องการเลือกแสดงกลุ่มดาวด้วยเส้นกำหนดขอบเขตของกลุ่มดาว (Boundary) ก็สามารถทำได้โดยเลือกที่ ในแถบเครื่องมือแนวตั้ง เลือกแท็บ Markings ในส่วนของ Constellations สามารถเลือก show boundaries ดังแสดงในภาพที่ 14 และ 15
ภาพที่ 13 กลุ่มดาวแบบเส้นลากเชื่อมต่อกันและภาพกลุ่มดาว
ภาพที่ 16 ชื่อกลุ่มดาว
ส่วนการแสดงชื่อของ ดาวเคราะห์ ดาวเคราะห์น้อย ดาวหาง และวัตถุห้วงอวกาศลึกนั้น ซอฟต์แวร์จะตั้งค่าเริ่มต้นไว้สำหรับดาวที่มีความสว่างมากๆ ซึ่งเหมาะกับการสังเกตด้วยตาเปล่า หรือจะปรากฏชื่อเมื่อเราซูมภาพเข้าไปในบริเวณใกล้เคียง หากต้องการแสดงชื่อและตำแหน่งของวัตถุท้องฟ้าที่มีความสว่างน้อยเหล่านี้ สามารถทำได้โดย เลือกที่เครื่องมือ
ในแถบเครื่องมือแนวนอน หรือ คลิก V เพื่อแสดงชื่อกลุ่มดาว ดังแสดงในภาพที่ 16
ภาพที่ 19 ข้อมูลของวัตถุทางด้านซ้าย
การควบคุมด้วยคีย์บอร์ด เราสามารถเลื่อนการเคลื่อนที่ของท้องฟ้าด้วยการควบคุมผ่านคีย์บอร์ด ดังแสดงในตารางที่ 3
ตารางที่ 3 การควบคุมการเคลื่อนที่ด้วยแป้นบนคีย์บอร์ด
ภาพที่ 18 ชื่อและตำแหน่งวัตถุที่มีความสว่างน้อยปรากฏให้เห็นเพิ่มขึ้นบนท้องฟ้า
การควบคุมด้วยเมาส์และคีย์บอร์ด
การควบคุมด้วยเมาส์ เราสามารถเลื่อนท้องฟ้าไปมาได้โดยการคลิกซ้ายค้างไว้แล้วลากเมาส์ไปตามทิศทางที่เราต้องการ ภาพของท้องฟ้าจะเลื่อนตามทิศทางที่เราลากเมาส์ไปมา สำหรับการซูมเข้า/ออกสามารถทำได้โดยหมุนล้อเมาส์ (Scroll wheel) โดยหมุนไปข้างหน้าหากต้องการซูมเข้าและหมุนกลับมาข้างหลังหากต้องการซูมออก ส่วนการเลือกวัตถุที่สนใจ สามารถคลิกซ้ายที่วัตถุที่ต้องการเลือกได้เลย หลักจากคลิกเลือกแล้วจะปรากฏสัญลักษณ์บริเวณวัตถุที่ถูกเลือก และปรากฏข้อมูลของวัตถุทางด้านซ้ายของจอ ดังแสดงในภาพที่ 19 เราสามารถปรับให้วัตถุที่เลือกเลื่อนมาอยู่กลางจอภาพด้วยการเคาะ Space Bar เพื่อตรึงวัตถุให้อยู่กลางหน้าจออัตโนมัติ และหากไม่ต้องการเลือกวัตถุดังกล่าวแล้วให้คลิกขวาเพื่อยกเลิกการเลือกวัตถุ
ภาพที่ 17 ปรับการแสดงชื่อของดาว วัตถุห้วงอวกาศลึก และวัตถุในระบบสุริยะ
ในแถบเครื่องมือแนวตั้ง หรือ กด F4 เพื่อเปิดหน้าต่าง View จากนั้นเลือกแท็บ Sky ในส่วนของ Labels and Markers ให้เลื่อนแทบสไลด์ของกลุ่มวัตถุที่เราต้องการไปทางด้านขวา หากเลื่อนไปทางขวาสุด ชื่อของดาว วัตถุห้วงอวกาศลึก และวัตถุในระบบสุริยะ จะแสดงออกมาทั้งหมด ดังนั้นให้เราปรับเลื่อนแทบสไลด์ ให้แสดงชื่อของวัตถุออกมามากน้อยตามที่เราต้องการ ดังแสดงในภาพที่ 17 และ 18
การค้นหาวัตถุ
การค้นหาวัตถุท้องฟ้านั้นสามารถทำได้โดยใช้เครื่องมือ
ภาพที่ 20 หน้าต่าง Find Object or Position
ในแท็บ Object สามารถพิมพ์ชื่อวัตถุที่ต้องการหาได้เลย (พิมพ์ชื่อภาษาอังกฤษ) เช่น M42, Saturn หรือ C/2012 S1 หลังจากนั้นกด Enter วัตถุที่ค้นหาจะเลื่อนมาอยู่กลางหน้าจออัตโนมัติ โดยมีแถบข้อมูลปรากฏทางด้านซ้ายแบบเดียวกับการคลิกซ้ายเลือกวัตถุ
หรือ กด Ctrl+F เพื่อเปิดหน้าต่าง Find Object or Position ดังแสดงในภาพที่ 20